การไปโรงเรียนของเด็กประถมญี่ปุ่น
บทความสองภาษาไทย ー ญี่ปุ่น
เรื่องโดย มะนาว
<「通学団」って、聞いたことある?>
<「Tsugakudan」 tte kiitakoto aru?>
<เคยได้ยินคำว่า “ซือกะกุดัน” ไหมคะ>
ในโรงเรียนประถมของญี่ปุ่นนั้น
ส่วนใหญ่จะมีกลุ่มนักเรียนที่ไปโรงเรียนด้วยกัน
(เรียกว่า “ ซือกะกุดัน”)
日本の小学校では、多くの小学校に通学団があります。
Nihon no syougakkou dewa ooku no syougakkou ni tsuugakudan ga arimasu
ซือกะกุดันจะแบ่งตามเขตการศึกษา
โดยแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ อีกหลายกลุ่ม
เรียกว่า“ซือกะกุฮัน” ค่ะ
通学団は学区ごとに分かれており、
学区を更にいくつかの小さいグループに分けたものを通学班と言います。
Tsuugakudan wa gakku goto ni wakareteori
gakku wo sarani ikutsuka no chiisai guruupu ni waketamono wo tsuugakuhan to iimasu
通学団名 つうがくだんめい ชื่อกลุ่ม
集合時間 しゅうごうじかん เวลานัดพบ
出発時間 しゅっぱつじかん เวลาออกเดินทาง
ส่วนท้องถิ่นที่ฉันอยู่ก็เป็นหนึ่งในกลุ่มเล็กนั้น
เด็กๆไปโรงเรียนกันเป็นกลุ่ม “ซือกะกุฮัน”
私の地域もその一つで、
子供たちは通学班で登校をします。
Watashi no chiiki mo sonohitotsu de
kodomotachi wa tsuugakuhan de toukou wo shimasu
“ซือกะกุฮัน”ถูกแบ่งโดยกลุ่มอาจารย์
อย่างเช่น จากบ้านนี้ถึงบ้านนั้นเป็นกลุ่มที่ 1 จากบ้านนั้นถึงบ้านโน้นเป็นกลุ่มที่ 2 เป็นต้น
通学班は先生たちによっていくつかの班に分けられます。
例えば、ここからそこまでの家は1班、
そこからあそこまでの家は2班 というようにです。
Tsuugakuhan wa senseitachi niyotte ikutsuka no han ni wakeraremasu
Tatoeba kokokara sokomade no ie wa ippan,
sokokara asokomade no iewa nihan to iuyouni desu
นักเรียนประถมในกลุ่มที่ถูกแบ่ง
ตั้งแต่ระดับตั้งแต่ชั้นประถม 1 ถึงชั้นประถม 6
จะไปโรงเรียนด้วยกัน
区分けされた班の小学生は、
1年生~6年生までみんな一緒に通います。
Kuwakesaretahan no syougakusei wa,
ichinensei kara rokunensei made minna issyoni kayoimasu
ช่วงฤดูใบไม้ผลิ นักเรียนใหม่ประถม 1 จะเข้าโรงเรียน
春の時期は、新一年生が入学します。
Haru no jiki wa shinichinensei ga nyuugakushimasu
เมื่อถึงช่วงเวลานั้น
นักเรียนชั้นสูงในกลุ่ม “ซือกะกุฮัน”
ที่ได้รับการแต่งตั้งมีหน้าที่ดูแลรุ่นน้อง
จะต้องเดินไปรับนักเรียนชั้นป 1 ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันถึงที่บ้าน
และพารุ่นน้องไปจุดนัดพบรวมตัวกัน
その時期になると、
係に任命された通学班の高学年の子は
毎朝、同じ班の1年生の子の家へ迎えに行き、
集合場所まで連れて行きます。
Sonojiki ni naruto
kakari ni ninmeisareta tuugakudan no kougakunen no ko wa
maiasa onajihan no ichinensei no kono ie e mukae ni iki,
syuugoubasyo made tsurete ikimasu

นี่เป็นหน้าที่ของนักเรียนชั้นสูง
これは高学年の子の役割です。
Kore wa kougakunen no ko no yakuwaridesu
เรียกว่า “โอเซวากะกะริ”
(คนที่ดูแลนักเรียนรุ่นน้อง)ค่ะ
これを「お世話係」と呼びます。
Kore wo 「osewagakari」 to yobimasu
หน้าที่นี้ต้องทำต่อเนื่องเป็นเวลา 7 วัน จนกว่านักเรียนชั้นป 1 จะเคยชินกับกลุ่มนี้
慣れるまでの1週間は、この役割は続きます。
Narerumade no isshuukan wa konoyakuwari wa tsuzukimasu
ถ้ามีนักเรียนชั้นป 1 จำนวน 3 คนจำเป็นจะต้องมีคนที่ดูแลจำนวน 3 คนค่ะ
もし新1年生が3人いたら、お世話係は3人必要です。
Moshi shinichinensei ga sannin itara
osewagakari wa sannin hitsuyou desu
ตัวอย่างเช่น คนที่ดูแลเฉพาะน้องริกุโตะ ประมาณนี้
りくとくんのお世話係、というようにです。
Rikuto kun no osewagakari toiu youni desu
สำหรับการเลือกนักเรียนที่ดูแลกลุ่มจะขึ้นอยู่กับทางโรงเรียน
お世話係をする子をどうやって選ぶかは、学校によります。
Osewagakari wo suruko wo douyatte erabuka wa gakkou ni yorimasu
ส่วนเขดการศึกษาที่เราอยู่ หากมีพี่น้องแท้ๆอยู่ด้วย พี่ก็จะดูแลน้อง
แต่ถ้าไม่มีพี่ชายหรือพี่สาวในกลุ่มนี้ นักเรียนชั้นสูงที่ไม่เคยทำจะเป็นคนที่ดูแลค่ะ
私の学区の場合は、もし兄弟がいればその兄弟がお世話係に(なり)、
いなければ、その班の中でまだお世話係をやったことがない高学年の子がお世話係をします。
Watashi no gakku no baai wa moshikyoudai ga ireba sonokyoudai ga osewagakarini (nari) inakereba sonohan no naka de mada osewagakari wo yattakoto ga nai kougakunen no ko ga osewagakari wo shimasu
ส่วนนักเรียนคนอื่นๆ จะมารวมกันที่จุดนัดรวมตัวภายในเวลานัด
他のみんなは集合時間までに集合場所に集まります。
Hoka no minna wa syuugoujikan madeni syuugoujikan ni atsumarimasu
ถ้าทุกคนมากันครบพร้อมแล้วก็จะเดินไปโรงเรียนโดยเรียง 2 แถว
みんなが揃ったら、2列に並んで登校をします。
Minna ga sorottara niretsu ni narande toukou wo shimasu
เราคิดเองว่า นี่เป็นวัฒนธรรมที่ดีมาก
โดยมีเหตุผล 5 ข้อ ดังนี้
これはとてもいい習慣だと私は思います。
その理由は5つあります。
Kore wa totemo ii syuukann dato watashi wa omoimasu
sono riyuu wa itsutsu arimasu.
1.นักเรียนชั้นสูง พวกเขาจะได้เรียนรู้ว่า
การดูแลน้องๆ รู้สึกยังไง ต้องทำอะไรบ้าง
高学年は小さい子の面倒を見るということを、
この通学班を通じて学ぶことができる
Kougakunen wa chiisaiko no mendou wo miru toiu koto wo
kono tsuugakuhan wo tsuujite manabukoto ga dekiru
2.สร้างสัมพันธ์กันและกันได้ในชุมชมเล็กๆ
ไม่ว่าระดับเดียวกันหรือระดับต่างกันก็ช่วยกันได้ง่ายขึ้น
通学団の中で、学年の違う近所の子たちとも、
お互いの関係を築くことができ、助け合いやすくなる
tsuugakudan no naka de. gakunen no chigau kinjo no kotachi tomo
otagai no kankei wo kizuku koto ga deki , tasukeai yasukunaru
3เนื่องจากไม่ได้เดินไปโรงเรียนคนเดียวทำให้ยากต่อการเป็นเป้าหมายของคนแปลกหน้า
一人で学校に行かないため、不審者に狙われにくい。
Hitori de gakkou ni ikanai tame fushinsya ni nerawarenikui
4.เด็กสามารถเรียนรู้กติกาในการใช้ชีวิตร่วมกันเป็นกลุ่มและความสำคัญในการรักษาเวลานัด
集団生活のルールや、
時間を守ることの大切さを学べる
Syuudanseikatsu no ruuru ya ,
jikan wo mamorukoto no taisetusa wo manaberu
5.พ่อแม่ไม่ต้องไปส่งลูก
親が子供を送っていかなくて済む
Oya ga kodomo wo okutteikanakute sumu
วินัยเด็กญี่ปุ่นเริ่มจากจุดนี้…

ถ้าคุณมาถึงสาย คนอื่นๆ ในกลุ่มก็จะรอนาน อาจจะไปโรงเรียนช้า
もし集合時間に遅れたら、通学班のみんなを待たせることになります。
Moshi syuugoujikan ni okuretara tsuugakuhan no minna wo mataserukoto ni narimasu
เราคนญี่ปุ่นถูกอบรมสั่งสอนมาตั้งแต่เด็กๆ ว่า ทำตัวไม่ให้รบกวนคนอื่นและรักษาเวลาเป๊ะๆ
เราถูกอบรมสั่งสอนจากผู้ใหญ่ไม่ว่าจะเรื่องการเดินไปโรงเรียนเป็นกลุ่ม
ที่เรียกว่า “ซือกะกุฮัน 通学班” หรือในสถานการณ์ต่างๆ ด้วย
人に迷惑をかけないように行動するということ、
時間をきっちり守るということを私たちは、
通学班やいろんな場面で大人から教えられてきました。
Hito ni meiwaku wo kakenai youni koudousuru toiukoto
jikan wo kicchiri mamoru toiu koto wo watashitachi wa
tsuugakuhan ya ironnabamend e otona kara oshierarete kimashita
คนต่างชาติพูดถึงคนญี่ปุ่นว่า เวลาต้องเป๊ะๆ ทำทุกอย่างก็ต้องเป๊ะๆ
นิสัยแบบนี้น่าจะได้รับอิทธิพลมาจากชีวิตตั้งแต่เด็กๆ อย่างนี้
日本人が時間にきっちりしている、全てにおいて完璧でなければならい人 と言われるのは、
このように小さい時からの影響によるものでしょう。
Nihonjin ga jikan ni kicchirishiteiru subete nioite kanpeki denakerebanaranai hito toiwarerunowa konoyouni chiisaitoki kara no eikyou niyoru mono desyou
คงเป็นเพราะว่าเด็กๆ ถูกปลูกฝังมาจนชินเป็นเรื่องธรรมดาในการใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่ม
集団生活の中で当たり前のこととして
植え付けられているからなのでしょうね。
Shuudanseikatsu no naka de atarimae no koto toshite
uetsukerareteiru kara nanodesyoune
ผู้เขียนเรื่องนี้
ฉันชื่อ มายูมิ ชื่อไทย “มะนาว” เป็นคนญี่ปุ่น อยู่ที่จังหวัดไอจิ
เคยอยู่ที่กรุงเทพฯ 2 ปีครึ่ง เพราะสามีไปทำงานที่กรุงเทพฯ ตอนที่ฉันอยู่กรุงเทพฯ
ได้สัมผัสความมีน้ำใจของคนไทย ทำให้รักคนไทยและเมืองไทย
ตอนนี้เป็นแม่บ้านและทำงานเป็นครูสอนภาษาไทย
ฉันอยากจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนไทย
งานอดิเรก คือ การท่องเที่ยว เรียนภาษาไทย
ดูแลลูก ดูละครญี่ปุ่น ดูหนัง ไปร้านกาแฟน่ารักๆ เป็นต้น